วันจันทร์ที่ 25 มีนาคม พ.ศ. 2556

การจัดการศึกษาในศตวรรษที่ 21


 ศตวรรษที่ 21 สถานการณ์โลกมีความแตกต่างจากศตวรรษที่ 20 และ 19 ระบบการศึกษา ต้องมีการพัฒนาเพื่อให้สอดคล้องกับภาวะความเป็นจริง
         ในประเทศสหรัฐอเมริกาแนวคิดเรื่อง "ทักษะแห่งอนาคตใหม่: การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21" ได้ถูกพัฒนาขึ้น โดยภาคส่วนที่เกิดจากวงการนอกการศึกษา ประกอบด้วย บริษัทเอกชนชั้นนำขนาดใหญ่ เช่น บริษัทแอปเปิ้ล บริษัทไมโครซอฟ บริษัทวอล์ดิสนีย์ องค์กรวิชาชีพระดับประเทศ และสำนักงานด้านการศึกษาของรัฐ รวมตัวและก่อตั้งเป็นเครือข่ายองค์กรความร่วมมือเพื่อทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 (Partnership for 21st Century Skills) หรือเรียกย่อๆว่า เครือข่าย P21
        หน่วยงานเหล่านี้มีความกังวลและเห็นความจำเป็นที่เยาวชนจะต้องมีทักษะสำหรับการออกไปดำรงชีวิตในโลกแห่งศตวรรษที่ 21      ที่เปลี่ยนไปจากศตวรรษที่ 20 และ 19 จึงได้พัฒนาวิสัยทัศน์และกรอบความคิดเพื่อการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21ขึ้น สามารถสรุปทักษะสำคัญอย่างย่อๆ ที่เด็กและเยาวชนควรมีได้ว่า ทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม หรือ 3R  และ 4Cซึ่งมีองค์ประกอบ ดังนี้
  • 3 R ได้แก่ Reading (การอ่าน), การเขียน(Writing) และ คณิตศาสตร์ (Arithmetic) และ
  • 4 C (Critical Thinking - การคิดวิเคราะห์, Communication- การสื่อสาร Collaboration-การร่วมมือ และ Creativity-ความคิดสร้างสรรค์ รวมถึงทักษะชีวิตและอาชีพ และทักษะด้านสารสนเทศสื่อและเทคโนโลยี และการบริหารจัดการด้านการศึกษาแบบใหม่ 
       แนวคิดทักษะแห่งอนาคตใหม่: การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 คืออย่างไร และคุณลักษณะที่เด็กและเยาวชนพึงมีในโลกยุคใหม่คืออย่างไร คลิกเพื่ออ่านต่อและดาวน์โหลดเอกสารที่นี่
       นอกจากนี้ยังมีนักการศึกษาอีกท่านหนึ่งที่มีส่วนสำคัญในการผลักดันเรื่องการฎิรูปการเรียนรู้ดังกล่าวให้กว้างขวางขึ้น คือเซอร์เคน โรบินสัน นักการศึกษาระดับโลก โดยได้เน้นยำ้ถึงความจำเป็นในการเปลี่ยนแปลงแนวคิดการจัดการศึกษาระบบโรงงาน มาเป็นการเรียนการสอนที่เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้คิดอย่างสร้างสรรค์และเข้ากับบริบทของโลกที่ได้เปลี่ยนแปลงไป  ชมแอนิเมชั่นด้านบน การเปลี่ยนแปลงแนวคิดด้านการศึกษาในศตวรรษที่ 21  (Changing Education Paradigms)โดย เซอร์เคน โรบินสัน 
         กรอบแนวคิดข้างต้นเองก็เป็นจุดเริ่มต้นของการพัฒนาทักษะแห่งอนาคตใหม่ในประเทศไทยและท่านที่ริเริ่มและมีบทบาทสำคัญในการผลักดันได้แก่ ศ.นพ. วิจารณ์ พานิช โดยท่านได้เขียนลงบล็อก  http://www.gotoknow.org อยู่เป็นประจำ รวมถึงได้เขียนหนังสือออกมาชื่อว่า
วิถีสร้างการเรียนรู้ครูเพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21






วันศุกร์ที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2556

e-pedagogy (รูปแบบการสอนที่ใช้เทคโนโลยี)

e-pedagogy (รูปแบบการสอนที่ใช้เทคโนโลยี)


ความหมายและรูปแบบของ  pedagogy 


What is Pedagogy ?


21st century pedagogy

Pedagogy: Innovations In Education


Pedagogy of Blogging 
Pedagogy of Interiority


Traditional and digital pedagogy 


Pedagogy content technology

Pedagogy List

SUBMITTED BY ADMIN ON WED, 10/12/2011 - 08:14

Lecture: Giving lecture by the instructor or guest speaker, usually to a large number of students. Opportunities for discussion are generally limited.การบรรยาย ผู้สอนอธิบายเนื้อหา โดยทั่วไปมักเป็นการสื่อสารทางเดียว คือจากผู้สอนไปสู่ผู้เรียน ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการกิจกรรมการเรียนการสอนน้อย

Discussion
     Large Group Discussion: Engage students in large group / whole class discussions. Require students to reflect on information presented or examine their personal beliefs or conclusions about a specific topic or issue.
     Small Group Discussion Foster active participation and steer participants in small group  toward constructive activities and dialogue. Students debates their  various points of views regarding the issues covered in the course.  Specific small group techniques such as seminar, roundtables, and dialogue facilitation, etc)
     Brainstroming With a variety of small group members, students openly collaborate to generate ideas on a specific issue in a given time limit. Normally, the key of brainstorming is to  build on each others ideas creatively and avoid criticizing  rather than determining which idea or ideas is the best solution.
     Tutorial group Offer a small number of students the materials presented during lectures in more depth: including space for discussion and queries.
การอภิปราย
     
การอภิปรายกลุ่มใหญ่ แบ่งนักศึกษาเป็นกลุ่มใหญ่หรือจัดให้เป็นการอภิปรายทั้งชั้นเรียน ให้นักศึกษาประยุกต์ใช้ความรู้และมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็น การวิจารณ์ การวิเคราะห์ และการทำงานกลุ่ม
     
การอภิปรายกลุ่มย่อย แบ่งนักศึกษาเป็นกลุ่มย่อย ให้นักศึกษาได้รับผิดชอบต่อบทบาทหน้าที่ของตนเองในฐานะผู้นำกลุ่มหรือสมาชิกกลุ่มกระตุ้นให้นักศึกษามีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็น การวิจารณ์ การวิเคราะห์ ประยุกต์ใช้ความรู้ และการทำงานกลุ่ม 
     
การระดมสมอง ตั้งประเด็นให้อภิปรายหรือตั้งปัญหาให้แก้ แล้วแบ่งเป็นกลุ่มเล็กๆ ให้ช่วยกันเสนอความคิดเห็นหรือทางเลือกสำหรับปัญหาที่กำหนดให้มากที่สุดในระยะเวลาที่จำกัด อาจให้เสนอความเห็นแบบปากเปล่าหรือเขียนใส่กระดาษ 
     
การอภิปรายทบทวน มีจุดมุ่งหมายเพื่อให้นักศึกษาได้ทบทวน อภิปรายความคิดเห็น ประเมินสิ่งที่ได้เรียนรู้ เช่น ทบทวนสิ่งที่ได้ค้นคว้า รายงานบทความที่ได้อ่าน หรือประชุมกลุ่มย่อยเพื่อทบทวนสิ่งได้ฟังบรรยาย เป็นต้น โดยผู้สอนและ/หรือนักศึกษาได้กำหนดหัวข้อที่จะซักถามและอภิปรายไว้ล่วงหน้า

Seminar Bringing together small groups for recurring meetings, focusing each time on some particular subject, in which everyone present is requested to actively participate.  Assigned readings are discussed, questions can be raised and debated. Students are more extensively with the methodology of their chosen subject or allowed to interact with examples of the practical problems that always occur during research work.การสอนแบบสัมมนา ผู้เรียนและผู้สอนช่วยกันเลือกเรื่องนำมาเรียนรู้ร่วมกัน เป็นลักษณะการรวบรวมความรู้ในสาขาวิชาต่างๆที่ได้ศึกษามา หรือการค้นคว้าวิจัย อาจมีการเชิญผู้เชี่ยวชาญบางสาขามาอภิปราย หลังจากศึกษาค้นคว้าแล้วผู้เรียนแต่ละคนกลุ่ม เสนอรายงานการศึกษาค้นคว้าของตน และแลกเปลี่ยนอภิปรายความเห็นกัน

Deductive /direct instruction Present a general concept by first defining it and then providing examples or illustrations. Students practice with instructor guidance and feedback, applying and finding examples of the concept at hands.การสอนโดยใช้การนิรนัย สอนโดยเริ่มจากกฎ หรือหลักการต่างๆ แล้วให้ผู้เรียนหาหลักฐานเหตุผลมาพิสูจน์ยืนยัน หรือแก้ไขปัญหา โดยผู้สอนกำหนดความคิดรวบยอดให้

Inductive / discovery teaching or inquiry teaching  To expose students to a concrete instance of a concept. Students are asked to continually develop and test hypotheses in order to generalize a principle.การสอนโดยใช้การนิรนัย สอนโดยเริ่มจากกฎ หรือหลักการต่างๆ แล้วให้ผู้เรียนหาหลักฐานเหตุผลมาพิสูจน์ยืนยัน หรือแก้ไขปัญหา โดยผู้สอนกำหนดความคิดรวบยอดให้

Case study Learning about a complex instance, emphasize cases that incorporate real-world experiences contributing to the solution of  problems.การใช้กรณีศีกษา ใช้กรณีตัวอย่าง ให้นักศึกษาได้ฝึกคิดวิเคราะห์อภิปรายเพื่อสร้างความเข้าใจ แล้วตัดสินใจเลือกแนวทางแก้ปัญหา

Fieldwork  Provide the students with the opportunity to develop a deeper or different set of skills and competencies by doing in an environment outside the class. The focus is on applying acquired knowledge in real life situations - linking what is learnt in class with what is seen, collected, and tested in the field.ภาคสนาม ให้นักศึกษาได้มีประสบการณ์ตรงจากการปฏิบัติมุ่งเน้นให้นักศึกษาสามารถเชื่อมโยงสิ่งที่ได้เรียนรู้ในห้องเรียนจากการปฏิบัติ ทั้งนี้ ไม่จำเป็นต้องออกนอกสถานที่หรือนอกห้องเรียนก็ได้

Field trip / excursion Taking students outside the classroom setting to have first hand- experience or real life situation. ทัศนศึกษา จัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อให้นักศึกษาได้รับประสบการณ์ตรงจากแหล่งความรู้ที่มีอยู่จริงตามสถานที่ต่างๆ นอกห้องเรียน

Dramatization To adopt the dramatic form in according to the given situation or issue. Define roles and set the scenario, students 's knowledge and understanding is reflected through the adopted character.การแสดงละคร ให้นักศึกษาได้ทดลองแสดงบทบาทตามที่กำหนดให้เกิดประสบการณ์ เข้าใจความรู้สึก เหตุผล และพฤติกรรมผู้อื่น

Game Use game as a means for learning. By setting a set of clear rules, students are subjected to encompass an element of competition. Normally, the game tends to have winners and losers. prescriptive. Also, actions are programmed and  structured.การใช้เกม สอนโดยใช้เกม ช่วยให้ผู้เรียนได้เรียนรู้เรื่องต่างๆ อย่างสนุกสนานและท้าทายความสามารถ โดยนักศึกษาต้องเคารพกฏ กติกาที่กำหนดขึ้น

Simulation Involves students in application and integration of knowledge and skill. By representing real environments which change over time, students are to react and adapt to real world situation. Free from the competitive element but need to proceed in a particular order.การใช้สถานการณ์จำลอง จำลองสถานการณ์ที่ใกล้เคียงกับความเป็นจริง ให้ผู้เรียนได้เข้าไปมีปฏิสัมพันธ์กับสถานการณ์ทำการตัดสินใจแก้ปัญหาต่าง  ซึ่งการตัดสินใจจะส่งผลถึงผู้เรียนในลักษณะเดียวกับที่เกิดขึ้นในสถานการณ์จริง

Role Playing Individual students are to place themselves in the position of another or as themselves and deal with unfamiliar circumstances going on around them. A given situation clearly defined to simulate real world environment.  Note that role playing has an element of game and simulation and could have winners and losers.การแสดงบทบาทสมมติ เป็นวิธีสอนที่ใช้การแสดงบทบาทสมมุติ หรือการเทียบเคียงสถานการณ์จริงมาเป็นเครื่องมือในการสอน โดยให้นักศึกษากำหนดตัวบุคคลให้เหมาะสมกับบทบาทนั้นๆ และสมมติตัวเองว่าถ้าอยู่ในสถานการณ์นั้นจะทำอย่างไร

Demonstration Show how to do something or how something works. Students observes the portrayal of a procedure before practicing the operations or procedures.การสาธิต แสดงหรือกระทำให้ดูเป็นตัวอย่าง แล้วจึงให้นักศึกษาฝึกปฏิบัติด้วยตนเอง

Learning Center a. To provide a broad array of enrichment activities that can complement their regular academic programs during non-school hours.การสอนแบบศูนย์การเรียน จัดกลุ่มกิจกรรมในห้องตามปกติ แบ่งนักศึกษออกเป็นกลุ่มย่อย เวียนเข้าเรียนในศูนย์กิจกรรมการเรียนต่างๆ ซึ่งมีเนื้อหาต่างกันไปจนครบทุกศูนย์ และมีสรุปบทเรียนในตอนท้าย

Experiment
     a. Structured/ Traditional/Cookbook Laboratory The laboratory is set of clearly defined steps that closely guide the students through an experimental procedure.
     b.Unstructured Laboratory Students are expected to develop inquiry skill, apply concepts learned in class to new situations rather than follwing lab direction. Instructors and students might work together as a research team to proceed the experiment.
การทดลอง 
    
 ก.การทดลองที่มีแบบแผนชัดเจน ให้นักศึกษาฝึกปฏิบัติทดลอง โดยที่ผู้สอนกำหนดจุดมุ่งหมาย กำหนดตัวปัญหาที่จะใช้ในการทดลองและกระบวนการหรือขั้นตอนในการดำเนินการทดลองให้ชัดเจน รวมทั้งจัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ที่จะใช้ในการทดลอง หรือมีคู่มือการฝึกทดลองให้
     
ข.การทดลองที่ไม่มีแบบแผน เป็นการทดลอง ค้นคว้าร่วมกันระหว่างผู้สอนและผู้เรียน ไม่มีการกำหนดขั้นตอนไว้ชัดเจน หรืออาจให้ผู้เรียนร่วมกันวางแผนและกำหนดขั้นตอนในการดำเนินการทดลอง เป็นลักษณะของการเป็นผู้ร่วมทีม (Research Team)

Programmed Instruction/ Computer Assisted Instruction: CAI /Online Instruction To computerize the teaching approach - students conduct self-administered and self-paced learning  through a program of instructional material presented by means of a computer or computer systems including e-learning.การสอนแบบโปรแกรม  การเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน  การเรียนแบบผสมผสาน การเรียนแบบออนไลน์ จัดการเรียนการสอนโดยใช้เทคโนโลยี เช่น คอมพิวเตอร์ e-learning ศูนย์การเรียน ให้นักศึกษาเรียนรู้อย่างเป็นอิสระด้วยตนเอง

Practice To supervise the students in practical application of a previously studied theory.การฝึกปฏิบัติ ให้นักศึกษาฝึกภาคปฏิบัติ ให้ได้เรียนรู้จากการลงมือทำจริงด้วยตนเอง

Apprenticeship Occupational training in a professional field  that combines on-the-job experience with classroom instruction. Extend students' experience to real industry or business workplace.การฝึกงาน ให้นักศึกษาฝึกปฏิบัติในสภาพจริงชั่วระยะเวลาหนึ่ง มุ่งเน้นที่การเรียนรู้ เข้าใจ และฝึกฝนงานตามสภาพจริง

Research-based instruction 
     a. To incorporate the research results to individual or group research projects or classroom assignments.
     b. To mentor students the research experiences within courses by replicating the processes of conducting research as the teaching methods.
การสอนโดยใช้วิจัยเป็นฐาน 
     
ก. ใช้ผลการวิจัยเป็นสาระการเรียนการสอน นำเอาการวิจัยมาใช้เป็นเครื่องมือในการจัดการเรียนรู้เรียนรู้ผลการวิจัยใช้ผลการวิจัยประกอบการสอน
     
ข.ใช้กระบวนการวิจัยเป็นกระบวนการเรียนการสอน จัดกระบวนการเรียนการสอนโดยใช้กระบวนการวิจัย ให้นักศึกษาเรียนรู้วิธีการทำวิจัย/รายงานเชิงวิจัย

Problem-based instruction Engage students through the process of solving a problem - design task to engage students in solving  authentic, ill-structured,  open ended and cross-disciplinary problems. Engage students in the exploration of multiple solution paths,  key  decision points and trade- offs.การสอนโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน ใช้ปัญหาเป็นตัวกระตุ้นให้นักศึกษาได้คิด วิเคราะห์ แสวงหา และบูรณาการความรู้ที่เหมาะกับการนำไปใช้ในสถานการณ์จริง อาจารย์เป็นผู้เตรียมทรัพยากรการเรียนรู้ต่างๆ และทำหน้าที่เป็นผู้สนับสนุนการเรียนรู้ 
(facilitator)

Project-based instruction Give projects and activities that require students to work in small collaborative groups to complete complex tasks that typically result in a realistic product based on their understanding and application of knowledge. Aso, focus on a constructive investigation that involves inquiry and knowledge building.การสอนโดยใช้โครงงาน ให้นักศึกษาเป็นกลุ่มหรือรายบุคคลเรียนรู้เรื่องใดเรื่องหนึ่งตามความสนใจของผู้เรียน เน้นการเรียนรู้ผ่านกระบวนการแก้ปัญหาและการสืบเสาระหาความรู้ความเข้าใจด้วยตนเอง   โดยให้นักศึกษาทำเป็นลักษณะของโครงการ/มีผลงานหรือชิ้นงานออกมาด้วย

Inquiry-based instruction Give key subject matter concepts-balancing direct instruction with inquiry opportunities, require students to investigate multiple subjects  in order to generate a workable solution focusing on questioning, critical thinking, and problem solving.การสอนแบบสืบสอบ ให้ผู้เรียนค้นหาความรู้ด้วยตนเองโดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ ได้แก่ การสำรวจตรวจสอบ ตั้งสมมติฐาน กำหนดทางเลือกที่เป็นไปได้ ลงมือปฏิบัติเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ แปลผล สรุปผล สามารถนำความรู้ที่สร้างขึ้นไปเชื่อมโยงกับความรู้เดิม หรือนำไปใช้อธิบายสถานการณ์หรือเหตุการณ์อื่น  ผู้สอนเป็นเพียงผู้สนับสนุนและให้คำแนะนำ

Cooperative learning Assign a cooperative group work , usually a small team enough that everyone can participate on a collective task , and encourage collaboration among students. Provide environment necessary for intense interaction and group learning process among interdependence of team members.การเรียนรู้แบบร่วมมือ จัดประสบการณ์เรียนรู้ที่นักศึกษาได้ทำงานร่วมกัน ได้เรียนรู้บทบาทสมาชิกกลุ่ม รับผิดชอบการเรียนรู้ของตนและสมาชิกในกลุ่ม

Reflective thinking Motivate students to share the interest of the subject or reflect on their experience, value questioning, hypothesizing, and openness to new ideas and perspectives. To coach student teams critique one another’s work.การสะท้อนความคิด 

Independent study Enable students to meet personal learning objectives students through a self study align with their theme of interest.การศึกษาค้นคว้าโดยอิสระ ให้นักศึกษากำหนดแผนการศึกษา (วัตถุประสงค์การเรียน และวิธีการเรียนด้วยตนเองตามความสามารถและความสนใจ โดยอาจารย์เป็นผู้ให้คำแนะนำ อาจอยู่ในรูปของการจัดการศึกษาเป็นรายบุคคล

Resource person Having the resource person - an expert with specialized knowledge - to explain certain topics to the students.The resource person could be individuals within the community who have good knowledge or adequate information on particular topics either as professional or through practical experience.การเรียนรู้จากบุคคลต้นแบบ/ปราชญ์ 

Micro teaching (in teacher education)  Provide students an opportunity to develop instructional skills - small groups of peers (videotape) observe each other teaching, provide feedback, and engage in discussion.การเรียนการสอนแบบจุลภาค การฝึกทักษะการสอนในสถานการณ์จำลอง เป็นการลดความซับซ้อนของการสอนตามชั้นเรียนปกติ ได้แก่ ลดขนาดของห้องเรียน ลดขอบเขตของเนื้อหาวิชา และลดเวลา

Supervision To monitor and evaluation of a student performance by a supervisor.การนิเทศการปฏิบัติการวิชาชีพ การให้คำแนะนำและคำปรึกษาแก่ผู้เรียน เน้นทางด้านทักษะเฉพาะทางวิชาชีพ

Consult Give an advise to individual students in both the particular area of expertise or general subjects.การให้คำปรึกษารายบุคคล ให้นักศึกษาได้เรียนรู้และรับคำปรึกษาจากอาจารย์หรือนักวิชาการในสาขาที่เกี่ยวข้องอย่างใกล้ชิด

Integration Instruction
     a. Interdisciplinary Modularize subjects allow for flexible projects that challenge the students to combine theoretical material and practice of each discipline involved.
     b. Work-Integrated Learning Integrate learning with industry, bridge between the University and the external community and professional practice at workplace, giving students more projects that mirror professional practice.
การสอนแบบบูรณาการ 
     
ก. สหวิทยาการ เป็นลักษณะของการสร้างหัวเรื่อง (Theme) ขึ้นมา แล้วเชื่อมโยงเนื้อหาสาระจากสาขาวิชาต่าง  ตั้งแต่สาขาวิชาขึ้นไป ให้มาสัมพันธ์กับหัวเรื่องที่กำหนดไว้
     
ข. การบูรณาการร่วมกับการทำงาน บุรณาการการเรียนรู้เข้าไปในการทำงานจริง จัดการเรียนรู้เชิงประสบการณ์ที่ช่วยให้นักศึกษาประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะการทำงาน และทักษะเฉพาะที่สัมพันธ์กับวิชาชีพเพื่อใช้ในการทำงานจริงระหว่างการศึกษา

Self-directed learning Students are responsible and determine what they need to learn. Insrtuctors act as facilitators or tutors who prompt students to learn.การเรียนรู้ด้วยตนเอง 
Activities Expose students to the activities outside the classroom, extracurricular activitiesกิจกรรม

ที่มา   http://www.c4ed.kmutt.ac.th/?q=pedagogy-list








บทความที่เกี่ยวข้องกับ Lecture  based  

Lecture-Based Methods

Web-based lecture technologies: Highlighting the changing nature of teaching and learning

A comparative study of problem-based and lecturebased  learning in secondary school students’  motivation to learn science
http://www.academicjournals.org/ijster/PDF/Pdf2010/Nov/Keziah.pdf

Staff and student perspectives on web based lecture technologies

The Impact of Web-Based Lecture Technologies on Current and Future Practices
in Learning and Teaching

next  generation Educational  Technology  versus  the  lecture

Web-based lecture technologies and learning and teaching: a study
of change in four Australian universities

Student use of web based lecture technologies in blended learning: Do these reflect study patterns?
http://www.ascilite.org.au/conferences/auckland09/procs/craig.pdf

Web-based Lecture Recording Technologies: Do Students Learn From Them?
http://researchrepository.murdoch.edu.au/12208/1/web-based_lecture_recordings.pdf

The Pedagogy of Lecture Capture

Use of Technology in Lecture and Labs


Using Social Media in Your Classroom


Using twitter in an Elementary Classroom


Teaching with Twitter




บทความที่เกี่ยวข้องกับ Problem based  

A comparison of problem-based learning and  traditional lecture students’ expectations and course
grades in an introductory physics classroom

Mahmoud A. Kaddoura
Massachusetts College of Pharmacy and Health Sciences BostonMassachusettsUSA
http://academics.georgiasouthern.edu/ijsotl/v5n2/articles/PDFs/Kaddoura.pdf

Learning  about  problem  based  learning

Examining  barriers  in  technology enhanced  problem - based  learning

Impact  of  problem-base  learning (PBLon  teacher’s  beliefs  regarding  technology  use

Reflecttions  on  problem - based  learning

Innovative  teaching  : Using  multimedia  in  a problem-based  learning  environment
http://www.ebiblioteka.lt/resursai/Uzsienio%20leidiniai/IEEE/English/2006/Volume%204/Issue%204/Jets_v4i4_03.pdf

Problem based learning


Problem-Based Learning in Texas


PBL how to video-rev.mov


Problem Based Learning at Stenden University       


Problem based Learning 

Problem Based Learning Strategie Video.wmv






บทความที่เกี่ยวข้องกับ Project based  


Project-Based Learning
http://naf.org/files/PBL_Guide.pdf

Project-based Learning Model  Relevant Learning for the 21 st  Century
http://www.fishwildlife.org/files/ConEd-Project-based-Learning_-Model.pdf

TOP  TEN TIPS  FOR ASSESSING  PROJECT-BASED LEARNING

http://www.edutopia.org/files/existing/pdfs/guides/edutopia-10tips-assessing-project-based-learning.pdf

Project-Based Learning for the  21st Century: Skills for  the Future

Project Based Learning


Project Based Learning: Explained. 

Project Based Learning in Hand Part 1

Project Based Learning in Hand Part 2




บทความที่เกี่ยวข้องกับ  Case based  

Case based  Learning

Case- based  Learning  (CBL)

Using case-based Reasoning  Technology  Build  Learning  Software  Organizations

A case-based  exploration  of Task / technology  fit in a  knowledge management context

Semantic  Technologies  for  the  Enhancement  of  Case  Based  Learning : Case  For  Support

Teaching with web 2.0 technologies: Twitter, wikis & blogs - Case study


Using wikis for student collaboration - Case study


My Teacher Is Following Me On Twitter








บทความที่เกี่ยวข้องกับ   Simulation  and  Game


PEDAGOGICALLY STRUCTURED GAME-BASED TRAINING
DEVELOPMENT OF THE ELECT BILAT SIMULATION

Towards a Theory of a Games Based Pedagogy

Towards a framework for games and simulations in STEM subject assessments.

Designing Simulation-based Learning Experiences for Collaboration Competencies Development

Digital Warrior: Blending Pedagogy and Game Technology

How can exploratory learning with games and simulation within the curriculum be most effectively evaluated?

Educational Gaming and Simulation: Current Research and Efforts in Assessment
Video Game Design Career Simulation Curriculum


TEACHING ICT WITH SIMULATIONS, PERFORMANCE ASSESSMENT, AND GAMES


Web Game Design Career Simulation Curriculum


Teaching ICT with Simulations, Performance Assessment, and Games (MPICT)


Webinar for educators: How to teach with business simulation games - Part of 4


Introducing a Game-Based Curriculum in Higher Ed


Peacebuilding Online Simulation: Tech for Teaching at Columbia


Simulation and Modeling for Technical Education NSF project at Hofstra University


.